รูปและเสียงวรรณยุกต์
วรรณยุกต์ หมายถึง เครื่องหมายที่แสดงเสียงสูง ต่ำ ของคำในภาษาไทย มี 4 รูป คือ
1. เสียงสามัญ อยู่ในระดับเสียงกึ่งสูง-กลาง เช่น กา คาง
2. เสียงเอก อยู่ในระดับเสียงกึ่งต่ำ-ต่ำ เช่น ก่า ข่า ปาก หมึก
3. เสียงโท อยู่ในระดับเสียงสูง-ต่ำ เช่น ก้า ข้า มาก
4. เสียงตรี อยู่ในระดับเสียงกึ่งสูง-สูง เช่น ก๊า ค้า ชัก
5. เสียงจัตวา อยู่ในระดับเสียงกึ่งต่ำ-ต่ำ-กึ่งสูง เช่น ก๋า ขา
การผันวรรณยุกต์ในภาษาไทยจำเป็นต้องมีหลักสำคัญในการ
ไตรยางศ์
พยัญชนะไทยมีเสียงวรรณยุกต์กำกับแตกต่างกัน จึงแบ่งพยัญชนะตามการออกเสียงเป็น 3 หมู่ หรือเป็นระบบไตรยางศ์ได้ดังนี้
พยัญชนะไทยมีเสียงวรรณยุกต์กำกับแตกต่างกัน จึงแบ่งพยัญชนะตามการออกเสียงเป็น 3 หมู่ หรือเป็นระบบไตรยางศ์ได้ดังนี้
- อักษรกลาง เป็นพยัญชนะที่มีเสียงวรรณยุกต์เป็นเสียงสามัญ มี 9 ตัว ได้แก่ ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป และ อ
- อักษรสูง เป็นพยัญชนะที่มีเสียงวรรณยุกต์เป็นเสียงจัตวา มี 11 ตัว ได้แก่ ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส และ ห
- อักษรต่ำ เป็นพยัญชนะที่มีเสียงวรรณยุกต์เป็นเสียงสามัญเช่นเดียวกับอักษรกลาง แต่มีหลักการผันวรรณยุกต์ที่แตกต่างกัน มี 24 ตัว ได้แก่ ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬ และ ฮ ซึ่งได้แบ่งอักษรต่ำเป็นอักษรต่ำคู่ กับอักษรต่ำเดี่ยว ดังนี้
อักษรต่ำเดี่ยว คืออักษรต่ำที่ไม่มีเสียงคู่กับอักษรสูง มีทั้งสิ้น 10 ตัว ได้แก่ง, ญ, ณ, น, ม, ย, ร, ล, ว และ ฬ
คำเป็น คือคำที่ประสมสระเสียงยาวในแม่ ก กา และคำที่อยู่ในแม่กง แม่กน แม่กม แม่เกย และแม่เกอว
คำตาย คือคำที่ประสมสระเสียงสั้นในแม่ ก กา และคำที่อยู่ในแม่กก แม่กด และแม่กบ
แต่ถ้าเป็นคำตาย จะผันได้แค่ ๔ เสียง คือ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี และเสียงจัตวา เช่น
อักษรสูง พื้นเสียงเป็นเสียงจัตวา ผันด้วยวรรณยุกต์เอกเป็นเสียงเอก ผันด้วยวรรณยุกต์โทเป็นเสียงโท เช่น
แต่ถ้าเป็นคำตาย จะผันได้แค่ ๒ เสียง คือ เสียงเอก และเสียงโท เช่น
อักษรต่ำ พื้นเสียงเป็นเสียงสามัญ ผันด้วยวรรณยุกต์เอกเป็นเสียงโท ผันด้วยวรรณยุกต์โทเป็นเสียงตรี เช่น
-----------------------------------------------
สุดยอดครับรู้อะไรได้เยอะเลยครับขอบคุณครับ
ตอบลบดีครับผม
ตอบลบดีครับผม ได้ความรู้ด้วย
ตอบลบนำมาใช้ได้แน่นอนค่ะหลังจากที่เรียนออนไลน์ไม่เข้าใจหนังสือก็ไม่มีค่ะต้องอาศัยgoogleช่วยค่ะ
ตอบลบเรียนรู้ได้เยอะเลยครับ
ตอบลบดีค่ะได้ความรู้เยอะค่ะ
ตอบลบ